พระราชทานตาม พ.ร.บ. เครื่องราชอิสสริยาภรณ์สำหรับความดีความชอบเหรียญดุษฎีมาลา ปีมะเมีย จัตวาศก ศักราช 1244 ของ รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา

รัชกาลที่ 5

พระนาม/นามผู้ได้รับพระราชทานสังกัด/ตำแหน่งในทางราชการชนิดเหรียญชนิดเข็มเหตุแห่งการพระราชทานวันทีได้รับพระราชทาน
แขกอะบูรามซามี ชาติเชื้อพราหมณ์เกิดเมืองปีนังเหรียญดุษฎีมาลาศิลปวิทยาในความชอบที่ได้เปนครูพระเจ้าลูกเธอทรงเรียนอักษรภาษาอังกฤษหลายพระองค์วันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 11 ค่ำ
ปีวอก ฉศก จ.ศ. 1246
(27 ธันวาคม พ.ศ. 2427)[1]
หลวงวาทิตบรเทศนายแตรในกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยาได้รับราชการฉลองพระเดชพระคุณเปนทหารแตรไปรเวตในกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์มาช้านาน แลได้เรียนวิชาชำนิชำนาญในการโน้ตแตรเสมอกับชาวยุโรปคนหนึ่ง ได้รับราชการหัดแตรในกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ แลในกรมทหารรักษาพระบรมมหาราชวัง แลในกรมทหารน่าทั้งสามกรมวันจันทร์ เดือน 10 ขึ้น 6 ค่ำ
ปีระกา สัปตศก จ.ศ. 1247
(14 กันยายน พ.ศ. 2428)[2]
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์
พระยาภักดีรจนา
หม่อมดำรงรามฤทธิ
พระผดุงศุลกฤต
พระรจนารังสรรค์
พระวิเสศสุวรรณกิจ
พระชำนิรจนา
หลวงบัญชาวรรณกิจ
หลวงลัญจกรโลหกิจ
หลวงสุวรรณสิทธิ
หลวงพิศณุกรรม
หลวงพิจิตรนฤมล
นายรองไชยขรรค์
นายเทศ
นายขำ
นายเหมือน
นายอิ้ม
เหรียญดุษฎีมาลาศิลปวิทยาวันพฤหัสบดี เดือนยี่ แรม 12 ค่ำ
ปีจอ อัฐศก จ.ศ. 1248
(20 มกราคม พ.ศ. 2429 ค.ศ. 1887)[3]
มิศเตอทอมซัน
ขุนนคร กรมการเมืองเพชรบุรี
ขุนศรีวิเศษ กรมการเมืองเพชรบุรี
ขุนรองปลัด กรมการเมืองเพชรบุรี
จีนจู เปนที่ขุนอุดมเดชภักดี กรมการเมืองเพชรบุรี
เหรียญดุษฎีมาลาราชการแผ่นดินในความชอบที่ได้ช่วยคนในเรือต่อสู้ไพรินทร์เมื่อเวลาที่เปนอันตรายวันพฤหัสบดี เดือน 3 แรม 10 ค่ำ
ปีจอ อัฐศก จ.ศ. 1248 (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 ค.ศ. 1887)[4]
นายเปล่ง หลานเจ้าพระยาพลเทพ (ฉิม)
หมายเหตุ: สกุลเวภาระ
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยาเล่าเรียนวิชาเนติยบัณฑิต ฤๅหมอกฎหมาย
(หมายเหตุ: สำเร็จการศึกษาจากสำนักมิดเดิลเทมเปิล ประเทศอังกฤษ)
วันอาทิตย์ เดือน 10 แรม 2 ค่ำ
ปีกุน นพศก จ.ศ. 1249
(4 กันยายน พ.ศ. 2430)[5][6]
หม่อมราชวงษ์ใหญ่สุวพรรณ ในพระองค์เจ้าสายสนิทวงษ
หมายเหตุ: ราชสกุลสนิทวงศ์
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยาไปเรียนวิชาหมอในประเทศยุโรปได้สำเรจตลอดวันพฤหัสบดี เดือน 10 แรม 6 ค่ำ
ปีกุนนพศก จ.ศ. 1249
(8 กันยายน พ.ศ. 2430)[7]
นายมนู บุตรนายโหมด กระสาปนกิจโกศล มหาดเล็ก
หมายเหตุ: สกุลอมาตยกุล
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยามีวิชาแช่เครื่องเงินเครื่องทองอย่างดีหนึ่งวันพฤหัสบดี เดือน 10 แรม 6 ค่ำ
ปีกุนนพศก จ.ศ. 1249
(8 กันยายน พ.ศ. 2430)[8]
นายร้อยโท หม่อมราชวงษ์สนิทศิลปวิทยามีความรู้วิชาช่าง ได้ทำการเปนนายช่างในที่ทั้งปวง มีโรงพยาบาลเปนต้น สำเร็จมาแล้วเปนอันมากวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น 7 ค่ำ
ปีชวดสัมฤทธิศก จ.ศ. 1250
(10 ธันวาคม พ.ศ. 2431)[9]
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทวะวงษ์วะโรประการ
หมายเหตุ: ต้นราชสกุลเทวกุล
เหรียญดุษฎีมาลาเงินกาไหล่ทองศิลปวิทยาวิชาเลข แต่งประติทินเปนต้น20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นสรรพสาตรศุภกิจ
หมายเหตุ: ต้นราชสกุลทองแถม
เหรียญดุษฎีมาลาเงินกาไหล่ทองศิลปวิทยาวิชาช่าง20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ
หมายเหตุ: ต้นราชสกุลดิศกุล
เหรียญดุษฎีมาลาเงินกาไหล่ทองศิลปวิทยาตำราเรียน20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์
หมายเหตุ: ต้นราชสกุลจิตรพงศ์
เหรียญดุษฎีมาลาเงินกาไหล่ทองศิลปวิทยาวิชาช่างเขียน20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
หลวงเลขาวิจารณ์ช่างเขียนเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
ขุนฉายาสาทิศกร (ทองดี)
หมายเหตุ: สกุลจิตราคนี บุตรหลวงอัคนีนฤมิตร (ฟรานซิส จิตร จิตราคนี)
ช่างถ่ายรูปเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
นายทองช่างเขียนเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
นายจ่างช่างเขียนเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
นายใหญ่ช่างเขียนเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
นายแววช่างปั้นเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
นายเชนช่างแกะเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
นายเอมช่างทองเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
นายคำขาวช่างทองเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
นายทิมช่างทองเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
นายกันช่างทองเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
นายและช่างทองเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 109
(พ.ศ. 2433 ค.ศ. 1891)[10]
ขุนประเสริฐอักษรนิติ์ (แพ)
หมายเหตุ: สกุลตาละลักษมณ์
กรมศึกษาธิการศิลปวิทยา10 ตุลาคม ร.ศ. 111
(พ.ศ. 2435 ค.ศ. 1892)[11]
ขุนพรหมรักษา (กร)
หมายเหตุ: สกุลหงสกุล
ปลัดกรมช่างทหารในไทยขวาศิลปวิทยา22 มกราคม ร.ศ. 111
(พ.ศ. 2435 ค.ศ. 1893)[12]
พระเจ้าอินทรวิชยานนท์พระเจ้านครเชียงใหม่เหรียญดุษฎีมาลาเงินกาไหล่ทองราชการแผ่นดิน20 พฤษภาคม ร.ศ. 112
(พ.ศ. 2436 ค.ศ. 1893)[13]
พระยาฤทธิสงครามรามภักดี (อับดุลฮามิด)พระยาไทรบุรีเหรียญดุษฎีมาลาเงินกาไหล่ทองราชการแผ่นดิน20 พฤษภาคม ร.ศ. 112
(พ.ศ. 2436 ค.ศ. 1893)[13]
เจ้าพระยารัตนบดินทร์ (รอด)
หมายเหตุ: สกุลกัลยาณมิตร
ที่สมุหนายกราชการแผ่นดิน20 มิถุนายน ร.ศ. 112
(พ.ศ. 2436 ค.ศ. 1893)[14]
พระยาเพ็ชราภิบาลนฤเบศร (ทัด)เจ้าเมืองหนองจิกราชการแผ่นดิน13 มิถุนายน ร.ศ. 113
(พ.ศ. 2437 ค.ศ. 1894)[15]
พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโศภณ
หมายเหตุ: ต้นราชสกุลสวัสดิวัตน์
เหรียญดุษฎีมาลาเงินกาไหล่ทองราชการแผ่นดิน30 มกราคม ร.ศ. 113
(พ.ศ. 2437 ค.ศ. 1895)[16]
ศิลปวิทยา30 มกราคม ร.ศ. 113
(พ.ศ. 2437 ค.ศ. 1895)[16]
พระยาวิสุทธ์สุริยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เปีย)
หมายเหตุ: ราชสกุลมาลากุล
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา30 มกราคม ร.ศ. 113
(พ.ศ. 2437 ค.ศ. 1895)[16]
หมอบาสเตียนเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยาความชอบในวิชาแต่งหนังสือ20 เมษายน ร.ศ. 115
(พ.ศ. 2439 ค.ศ. 1896)[17]
นายชื่น มหาดเล็ก บุตรพระยาทิพย์โกษาราชการในพระองค์6 พฤศจิกายน ร.ศ. 115
(พ.ศ. 2439 ค.ศ. 1896)[18]
ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน ร.ศ. 115
(พ.ศ. 2439 ค.ศ. 1896)[18]
พระยาสีหราชเดโชไชย (โต)ราชการในพระองค์21 กันยายน ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1897)[19]
พระรัตนโกษา (เล็ก)ราชการในพระองค์21 กันยายน ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1897)[19]
นายกวด หุ้มแพร (หม่อมหลวงวราห์)ราชการในพระองค์21 กันยายน ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1897)[19]
นายพินัยราชกิจ หุ้มแพร (อ้น)ราชการในพระองค์21 กันยายน ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1897)[19]
นายสุดจินดา หุ้มแพร (ชม)ราชการในพระองค์21 กันยายน ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1897)[19]
นายเพิ่ม มหาดเล็กราชการในพระองค์21 กันยายน ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1897)[19]
พระยาวุฒิการบดี (หม่อมราชวงษ์คลี่)จางวางธรรมการราชการแผ่นดิน8 มกราคม ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1898)[20]
พระยาเสนีณรงค์ฤทธิ์ (ตนกูอับดลอาศิศ)รายามุดาเมืองไทรบุรีราชการแผ่นดิน8 มกราคม ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1898)[20]
หลวงรำไพพงษ์บริพัตร (จิตร)กรมรถไฟเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา23 มกราคม ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1898)[21]
หลวงโทรเลขธุรการี (เข็ม)เจ้ากรม กรมโทรเลขเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา23 มกราคม ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1898)[21]
หลวงไปรสนีย์ธุรานุรักษ์ (เหม)เจ้ากรม กรมไปรสนีย์เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา23 มกราคม ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1898)[21]
นายชู เปรียญกระทรวงธรรมการเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา23 มกราคม ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1898)[21]
พระยาราชวรานุกูล (อ่วม)ปลัดทูลฉลองกระทรวงมหาดไทยเหรียญดุษฎีมาลาเงินราชการแผ่นดิน24 มกราคม ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1898)[21]
นายลออ มหาดเล็ก บุตรพระยาเพ็ชรรัตนเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา26 มกราคม ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1898)[21]
พระยาวิชิตภักดี (ขำ)ผู้ว่าราชการเมืองไชยาเหรียญดุษฎีมาลาเงินราชการแผ่นดิน11 มกราคม ร.ศ. 116
(พ.ศ. 2440 ค.ศ. 1898)[22]
พระยามนูเนติบรรหาร (จีน)กระทรวงยุติธรรมเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา22 พฤศจิกายน ร.ศ. 117
(พ.ศ. 2441 ค.ศ. 1898)[23]
มองสิเออร์เรคามีผู้ตรวจการชั่งเขียน กรุงปารีศเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา21 เมษายน ร.ศ. 118
(พ.ศ. 2442 ค.ศ. 1899)[24]
หลวงไพศาลศิลปสาตร (สนั่น)
หมายเหตุ: ราชสกุลเทพหัสดิน
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา21 กันยายน ร.ศ. 118
(พ.ศ. 2442 ค.ศ. 1899)[25]
นายชำนาญกระบวน (พัน)กระทรวงมหาดไทยเหรียญดุษฎีมาลาเงินราชการแผ่นดิน30 กันยายน ร.ศ. 118
(พ.ศ. 2442 ค.ศ. 1899)[26]
เจ้าบุญวาทยวงษ์มานิต (บุญวงษ์)เมืองนครลำปางราชการแผ่นดิน18 มกราคม ร.ศ. 118
(พ.ศ. 2442 ค.ศ. 1900)[27]
ขุนอุดมภักดี (กลั่น)กระทรวงกระลาโหมเหรียญดุษฎีมาลาเงินราชการแผ่นดิน19 มกราคม ร.ศ. 118
(พ.ศ. 2442 ค.ศ. 1900)[28]
นายตาด มหาดเล็ก บุตรหลวงชำนิบรรณาคม
หมายเหตุ: สกุลจารุรัตน
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา9 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 118
(พ.ศ. 2442 ค.ศ. 1900)[29]
พระยาวิเชียรคีรีผู้สำเร็จราชการเมืองสงขลาศิลปวิทยา28 พฤษภาคม ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[30]
มิสเตอร์ยอนซันสารวัตรใหญ่ในกรมศึกษาธิการศิลปวิทยา7 กรกฎาคม ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[31]
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงษ์
หมายเหตุ: ต้นราชสกุลอาภากร
ศิลปวิทยา23 กรกฎาคม ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[32]
หลวงประสิทธิปฏิมาศิลปวิทยา2 สิงหาคม ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[33]
นายเรือโท หลวงประฎิยัตินาวายุทธ์ศิลปวิทยา14 สิงหาคม ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[34]
หม่อมภารตราชา (โต)
หมายเหตุ: ราชสกุลมนตรีกุล
ศิลปวิทยา24 กันยายน ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[35]
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นมรุพงษ์ศิริพัฒน์ราชการในพระองค์2 ตุลาคม ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[36]
ขุนวิจารณ์จักรกิจ (วิลเลียม)
หมายเหตุ: สกุลบุญยรัตกลิน
กรมทหารเรือศิลปวิทยา2 ตุลาคม ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[36]
หม่อมชาติเดชอุดม (สท้านกลาง)ศิลปวิทยา11 ตุลาคม ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[37]
หลวงสารสาสนพลขันธ์ (ยี,อี,เยรินี)ศิลปวิทยา31 ตุลาคม ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[37]
ขุนฉายาสาทิศกร (สอาด)
หมายเหตุ: สกุลจิตราคนี
ศิลปวิทยา1 พฤศจิกายน ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[37]
พระยาวิเศษสงคราม (สดสะปี)เจ้าเมืองปลิดราชการแผ่นดิน29 พฤศจิกายน ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1900)[38]
หม่อมเจ้าปรานี ในพระเจ้าบรมวงษเธอ กรมหลวงมหิศรวรินทรามเรศม์
หมายเหตุ: ราชสกุลมหากุล
ศิลปวิทยา3 มกราคม ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1901)[39]
หมอ เอช, อาดัมเซนศิลปวิทยา3 มกราคม ร.ศ. 119
(พ.ศ. 2443 ค.ศ. 1901)[39]
พระวาสุเทพ (ยี,เชา)เจ้ากรมตำรวจภูธรราชการแผ่นดิน11 ตุลาคม ร.ศ. 120
(พ.ศ. 2444 ค.ศ. 1901)[40]
จีนซันนายช่างไม้ กรมทหารเรือศิลปวิทยา25 พฤศจิกายน ร.ศ. 120
(พ.ศ. 2444 ค.ศ. 1901)[41]
นายร้อยโท หม่อมเจ้าบวรเดช
หมายเหตุ: ราชสกุลกฤดากร
กรมทหารบกศิลปวิทยา15 ธันวาคม ร.ศ. 120
(พ.ศ. 2444 ค.ศ. 1901)[42]
นายร้อยเอก หลวงชิตสรการ (จิตร์)
หมายเหตุ: สกุลมัธยมจันทร์
ราชการแผ่นดิน11 พฤษภาคม ร.ศ. 121
(พ.ศ. 2445 ค.ศ. 1902)[43]
ขุนฤทธิสรเพลิงนายเวรช่างพลพันศิลปวิทยา2 ตุลาคม ร.ศ. 121
(พ.ศ. 2445 ค.ศ. 1902)[44]
พระสถิตย์นิมานการ (หม่อมราชวงศ์ชิด)
หมายเหตุ: ราชสกุลอิศรศักดิ์
ศิลปวิทยา6 ธันวาคม ร.ศ. 121
(พ.ศ. 2445 ค.ศ. 1902)[45]
พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย)
หมายเหตุ: สกุลสิงหเสนี
เหรียญดุษฎีมาลาเงินราชการแผ่นดิน19 กันยายน ร.ศ. 122
(พ.ศ. 2446 ค.ศ. 1903)[46]
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมารเหรียญดุษฎีมาลาทองคำศิลปวิทยา21 กันยายน ร.ศ. 122
(พ.ศ. 2446 ค.ศ. 1903)[46]
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตร์สุขุมพันธุ์ กรมขุนนครสวรรค์วรพินิต
หมายเหตุ: ต้นราชสกุลบริพัตร
เหรียญดุษฎีมาลาทองคำศิลปวิทยา21 กันยายน ร.ศ. 122
(พ.ศ. 2446 ค.ศ. 1903)[46]
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ
หมายเหตุ: ต้นราชสกุลจักรพงษ์
เหรียญดุษฎีมาลาทองคำศิลปวิทยา21 กันยายน ร.ศ. 122
(พ.ศ. 2446 ค.ศ. 1903)[46]
สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระภาณุพันธุวงษ์วรเดช
หมายเหตุ: ต้นราชสกุลภาณุพันธุ์
เหรียญดุษฎีมาลาทองคำ
(พระราชทานแทนของเดิม)
ศิลปวิทยา21 กันยายน ร.ศ. 122
(พ.ศ. 2446 ค.ศ. 1903)[46]
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม
หมายเหตุ: ต้นราชสกุลทองใหญ่
เหรียญดุษฎีมาลาเงินกาไหล่ทองศิลปวิทยา21 กันยายน ร.ศ. 122
(พ.ศ. 2446 ค.ศ. 1903)[46]
หม่อมราชวงศ์ศุข ในพระวรวงษ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ
หมายเหตุ: ราชสกุลดารากร
ช่างกลึงศิลปวิทยา28 กันยายน ร.ศ. 122
(พ.ศ. 2446 ค.ศ. 1903)[47]
นายจันช่างเขียนศิลปวิทยา28 กันยายน ร.ศ. 122
(พ.ศ. 2446 ค.ศ. 1903)[47]
หลวงโลกทีป (ชุ่ม)เจ้ากรมโหรน่าศิลปวิทยา20 ตุลาคม ร.ศ. 122
(พ.ศ. 2446 ค.ศ. 1903)[48]
ขุนหลวงพระไกรสี (เทียม)
หมายเหตุ: สกุลบุนนาค
กระทรวงยุติธรรมเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา13 มกราคม ร.ศ. 122
(พ.ศ. 2446 ค.ศ. 1904)[49]
นายชดกระทรวงยุติธรรมเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา22 มกราคม ร.ศ. 122
(พ.ศ. 2446 ค.ศ. 1904)[50]
มิสเตอร์คาเตอศิลปวิทยา7 เมษายน ร.ศ. 123
(พ.ศ. 2447 ค.ศ.1904)[51]
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงนเรศรวรฤทธิ์ราชการในพระองค์23 กันยายน ร.ศ. 123
(พ.ศ. 2447 ค.ศ.1904)[52]
ขุนสมานธาตุวิสุทธิ์ (เปลี่ยน)
หมายเหตุ: สกุลกาญจนรันย์
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา26 มิถุนายน ร.ศ. 124
(พ.ศ. 2448 ค.ศ.1905)[53]
หม่อมนเรนทรราชา (หม่อมราชวงศ์สิทธิ์) ราชนิกุล
หมายเหตุ: ราชสกุลสุทัศน์
ศิลปวิทยา17 สิงหาคม ร.ศ. 124
(พ.ศ. 2448 ค.ศ. 1905)[54]
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตร์ไชยากรเหรียญดุษฎีมาลาทองคำศิลปวิทยา20 กันยายน ร.ศ. 124
(พ.ศ. 2448 ค.ศ. 1905)[55]
พระยาสุริยานุวัตร (เกิด)
หมายเหตุ: สกุลบุนนาค
แทนเสนาบดีกระทรวงโยธาธิการเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 กันยายน ร.ศ. 124
(พ.ศ. 2448 ค.ศ. 1905)[55]
ราชการแผ่นดิน20 กันยายน ร.ศ. 124
(พ.ศ. 2448 ค.ศ. 1905)[55]
นายหลีช่างสลักเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา2 ตุลาคม ร.ศ. 124
(พ.ศ. 2448 ค.ศ. 1905)[56]
นายพลโท เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม)
หมายเหตุ: สกุลแสง-ชูโต
เหรียญดุษฎีมาลาเงินราชการในพระองค์6 กันยายน ร.ศ. 125
(พ.ศ. 2449 ค.ศ.1906)[57]
ราชการแผ่นดิน6 กันยายน ร.ศ. 125
(พ.ศ. 2449 ค.ศ.1906)[57]
กล้าหาญ6 กันยายน ร.ศ. 125
(พ.ศ. 2449 ค.ศ.1906)[57]
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพรเหรียญดุษฎีมาลาทองคำศิลปวิทยา21 กันยายน ร.ศ. 125
(พ.ศ. 2449 ค.ศ.1906)[58]
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภเหรียญดุษฎีมาลาทองคำศิลปวิทยา21 กันยายน ร.ศ. 125
(พ.ศ. 2449 ค.ศ.1906)[58]
พระระถาจารณ์ประจักษ์ (โมรา)เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา24 มกราคม ร.ศ. 126
(พ.ศ. 2450 ค.ศ. 1908)[59]
ขุนเสนาะดุริยางค์ (แช่ม)
หมายเหตุ: สกุลสุนทรวาทิน
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา18 มีนาคม ร.ศ. 126
(พ.ศ. 2450 ค.ศ. 1908)[60]
หลวงจินดาภิรมย์ (เรียบ)ศิลปวิทยา9 มิถุนายน ร.ศ. 127
(พ.ศ. 2451 ค.ศ. 1908)[61]
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐเหรียญดุษฎีมาลาทองคำศิลปวิทยา20 กันยายน ร.ศ. 127
(พ.ศ. 2451 ค.ศ. 1908)[62]
พระราชเดชภักดี (บัว)เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา18 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 127
(พ.ศ. 2452 ค.ศ. 1909)[63]
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นนราธิปประพันธพงษ์เหรียญดุษฎีมาลาเงินกาไหล่ทองศิลปวิทยา14 เมษายน ร.ศ. 128
(พ.ศ. 2452 ค.ศ. 1909)[64]
นายพันโท หลวงภูวนารถนฤบาล (ผาด)
หมายเหตุ: ราชสกุลเทพหัสดิน
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา9 มกราคม ร.ศ. 128
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[65]
หลวงพฤฒิสารประสิทธิ์ (อัมพร)เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา13 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 128
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[66]
หม่อมเจ้าดำรง ในพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ
หมายเหตุ: ราชสกุลปราโมช
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา16 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 128
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[66]
หม่อมเจ้าอนุชาติศุขสวัสดิ์ ในพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมเดช
หมายเหตุ: ราชสกุลศุขสวัสดิ์
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา17 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 128
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[66]
นายจันช่างลงยาเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา17 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 128
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[66]
มิสเตอร์เกรเลิตช่างทองเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา28 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 128
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[66]
หม่อมเจ้าฉลาดลภเลอสรร ในพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร
หมายเหตุ: ราชสกุลกมลาสน์
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา9 มิถุนายน ร.ศ. 129
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[67]
หม่อมราชวงศ์โต๊ะ บุตร์หม่อมเจ้าถนอม ในพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาศ
หมายเหตุ: ราชสกุลนพวงษ์
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา9 มิถุนายน ร.ศ. 129
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[67]
หม่อมเจ้าชาติชูศักดิ์ ในพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์
หมายเหตุ: ราชสกุลทวีวงศ์
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 กันยายน ร.ศ. 129
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[68]
หลวงนิพัทธกุลพงษ์ (ชิน)เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 กันยายน ร.ศ. 129
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[68]
หลวงสมิทธิ์เลขา (ปลั่ง)เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 กันยายน ร.ศ. 129
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[68]

รัชกาลที่ 6

พระนาม/นามผู้ได้รับพระราชทานสังกัด/ตำแหน่งในทางราชการชนิดเหรียญชนิดเข็มเหตุแห่งการพระราชทานวันทีได้รับพระราชทาน
หม่อมอนุรุธเทวา (หม่อมราชวงศ์สายหยุด)
หมายเหตุ: ราชสกุลสนิทวงศ์
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา31 ธันวาคม ร.ศ. 129
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1910)[69]
หม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ในพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมขุนสรรพสาตรศุภกิจ
หมายเหตุ: ราชสกุลทองแถม
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา2 มกราคม ร.ศ. 129
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1911)[69]
หลวงเทพรจนา (สิน)
หมายเหตุ: สกุลปฏิมาประกร
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา8 มกราคม ร.ศ. 129
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1911)[70]
หลวงประสานดุริยศัพท์ (แปลก)
หมายเหตุ: สกุลประสานศัพท์
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา14 มกราคม ร.ศ. 129
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1911)[71]
นายพลตรี พระยาสโมสรสรรพการ (ทัด)
หมายเหตุ: สกุลศิริสัมพันธ์
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา16 มกราคม ร.ศ. 129
(พ.ศ. 2453 ค.ศ. 1911)[71]
หลวงระบำภาษา (ทองใบ)
หมายเหตุ: สกุลสุวรรณภารต
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา26 สิงหาคม ร.ศ. 130
(พ.ศ. 2454 ค.ศ. 1911)[72]
หลวงนัฏกานุรักษ์ (ทองดี)
หมายเหตุ: สกุลสุวรรณภารต
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา26 สิงหาคม ร.ศ. 130
(พ.ศ. 2454 ค.ศ. 1911)[72]
หลวงพำนักนัจนิกร (เพิ่ม)
หมายเหตุ: สกุลสุครีวกะ
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา26 สิงหาคม ร.ศ. 130
(พ.ศ. 2454 ค.ศ. 1911)[72]
หม่อมเจ้าเสรฐศิริ ในพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์
หมายเหตุ: ราชสกุลกฤดากร
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา25 พฤศจิกายน ร.ศ. 130
(พ.ศ. 2454 ค.ศ. 1911)[73]
นายพันตรี หม่อมเจ้าพันธุประวัติ ในพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมหมื่นพรหมวรานุรักษ์
หมายเหตุ: ราชสกุลเกษมสันต์
ศิลปวิทยา18 มกราคม ร.ศ. 130
(พ.ศ. 2454 ค.ศ. 1912)[74]
นายร้อยเอก หลวงอภิบาลภูวนารถ (จำรัส)ศิลปวิทยา18 มกราคม ร.ศ. 130
(พ.ศ. 2454 ค.ศ. 1912)[74]
หลวงพินิตนิตินัย (บุญช่วย)
หมายเหตุ: สกุลวณิกกุล
ศิลปวิทยา30 ธันวาคม ร.ศ. 131
(พ.ศ. 2455 ค.ศ. 1912)[75]
หลวงจินดาภิรมย์ (จิตร)
หมายเหตุ: สกุล ณ สงขลา
ศิลปวิทยา30 ธันวาคม ร.ศ. 131
(พ.ศ. 2455 ค.ศ. 1912)[75]
นายหัศบำเรอ หุ้มแพรพิเศษ (สหัด)ศิลปวิทยา30 ธันวาคม ร.ศ. 131
(พ.ศ. 2455 ค.ศ. 1912)[75]
หลวงเทพยนต์ (จำรัส)
หมายเหตุ: สกุลยันตระประกร
ศิลปวิทยา31 ธันวาคม ร.ศ. 131
(พ.ศ. 2455 ค.ศ. 1912)[75]
หลวงประดิษฐ์พิจารณ์การ (ก้อน)
หมายเหตุ: สกุลหุตะสิงห์
ศิลปวิทยา1 มกราคม ร.ศ. 131
(พ.ศ. 2455 ค.ศ. 1913)[75]
พระอภิรักษ์ราชฤทธิ์ (สอน)
หมายเหตุ: สกุลศรเกตุ
โรงเรียนมหาดเล็กหลวงเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา10 มกราคม ร.ศ. 131
(พ.ศ. 2455 ค.ศ. 1913)[76]
หลวงอภิบาลบุริมศักดิ์ (หม่อมหลวงทศทิศ)
หมายเหตุ: ราชสกุลอิศรเสนา
โรงเรียนมหาดเล็กหลวงเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา10 มกราคม ร.ศ. 131
(พ.ศ. 2455 ค.ศ. 1913)[76]
หลวงราชดรุณรักษ์ (เสริญ)
หมายเหตุ: สกุลปันยารชุน
โรงเรียนมหาดเล็กหลวงเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา10 มกราคม ร.ศ. 131
(พ.ศ. 2455 ค.ศ. 1913)[76]
หลวงเพลงไพเราะ (สม)กรมมหรสพเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา10 มกราคม ร.ศ. 131
(พ.ศ. 2455 ค.ศ. 1913)[76]
นายบัวกรมมหรสพเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา20 มกราคม ร.ศ. 131
(พ.ศ. 2455 ค.ศ. 1913)[76]
ขุนทิพจักษุสาตร์ (นิ่ม)กระทรวงวังเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา10 มกราคม ร.ศ. 131
(พ.ศ. 2455 ค.ศ. 1913)[77]
นายร้อยโท หม่อมเจ้าทองทีฆายุ ในพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม
หมายเหตุ: ราชสกุลทองใหญ่
เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา24 มีนาคม พ.ศ. 2455
(ค.ศ. 1913)[78]
พระยาเมธาธิบดี (สาตร์ สุทธเสถียร)เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2456
(ค.ศ. 1913)[79]
พระทิพจักษุสาตร์ (สุ่น สุนทรเวช)เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2456
(ค.ศ. 1913)[79]
พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชคุปต์)เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2456
(ค.ศ. 1914)[80]
พระยาบุรีนวราษฐ์ (ชวน สิงหเสนี)เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2456
(ค.ศ. 1914)[80]
พระนรินทราภรณ์ (เปลี่ยน สุวรรณประกร)เหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2456
(ค.ศ. 1914)[80]
นายหลุย เกอลอเนช่างเขียนกรมศุขาภิบาลเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา11 มกราคม พ.ศ. 2456
(ค.ศ. 1914)[80]
นายพันโท หลวงศักดิศัลยาวุธ (สุณี สุวรรณประทีป)กระทรวงกลาโหมเหรียญดุษฎีมาลาเงินศิลปวิทยา13 มกราคม พ.ศ. 2456
(ค.ศ. 1914)[80]
พระผดุงสาครศาสตร์ (สรรเสริญ สุขยางค์)ศิลปวิทยา14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457
(ค.ศ. 1914)[81]
นายนาวาโท หลวงประดิยัตินาวายุทธ (ศรี กมลนาวิน)ศิลปวิทยา21 ธันวาคม พ.ศ. 2457
(ค.ศ. 1914)[82]
นายนาวาตรี หลวงหาญสมุทร (บุญมี พันธุมนาวิน)ศิลปวิทยา21 ธันวาคม พ.ศ. 2457
(ค.ศ. 1914)[83]
นายนาวาตรี หลวงนิเทศกลกิจ (อิน)ศิลปวิทยา21 ธันวาคม พ.ศ. 2457
(ค.ศ. 1914)[84]
นายเรือเอก หลวงไชยนาวา (ถนอม ศุกรคุปต์)ศิลปวิทยา21 ธันวาคม พ.ศ. 2457
(ค.ศ. 1914)[85]
หม่อมเจ้าสิทธิพร ในพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์
หมายเหตุ: ราชสกุลกฤดากร
ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2457
(ค.ศ. 1914)[86]
นายพันโท หลวงยอดอาวุธ (รัตน อาวุธ)กระทรวงกระลาโหมศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2457
(ค.ศ. 1915)[86]
นายพันตรี หลวงอาวุธสิขิกร (หลง สินศุข)กระทรวงกระลาโหมศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2457
(ค.ศ. 1915)[86]
นายร้อยเอก หลวงทยานพิฆาฏ (ทิพย์ เกตุทัต)ศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2457
(ค.ศ. 1915)[86]
นาย อี. มันเฟรดีกรมศิลปากรศิลปวิทยา16 สิงหาคม พ.ศ. 2458
(ค.ศ. 1915)[87]
รองอำมาตย์เอก แอบ รักตประจิตศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2458
(ค.ศ. 1915)[88]
นาย อี. ฮิลลีศิลปวิทยา2 มกราคม พ.ศ. 2458
(ค.ศ. 1916)[88]
นาย แอล.อาร์. เดอร์ลามะโฮติแอร์นายช่างศุขาภิบาล กระทรวงนครบาลศิลปวิทยา18 มิถุนายน พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1916)[89]
รองเสวกโท หลวงชำนาญโยธา (แดง จุลเสน)ศิลปวิทยา26 มิถุนายน พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1916)[90]
จางวางตรี พระยาบุษยรถบดี (ทับทิม อมาตยกุล)ศิลปวิทยา25 ตุลาคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1916)[91]
จ่า หลวงประชานกลกิจ (เปล่ง โชติมัย)ศิลปวิทยา25 ตุลาคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1916)[91]
จ่า หลวงนาวีวราสา (ยืน นาวีเสถียร)ศิลปวิทยา25 ตุลาคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1916)[91]
รองหุ้มแพร ขุนดนตรีบรรเลง (อุ่น ดุรยะชีวิน)ศิลปวิทยา25 ตุลาคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1916)[91]
นายลิโกลีช่างกรมศิลปากรศิลปวิทยา25 ตุลาคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1916)[91]
นายร้อยเอก หลวงศักดาพลรักษ์ (ชื่น พุทธิแพทย์)ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1916)[92]
พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นกวีพจนสุปรีชา
หมายเหตุ: ต้นราชสกุลกัลยาณะวงศ์
ศิลปวิทยา6 มกราคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1917)[93]
อำมาตย์โท พระยาพจนสุนทร (เรือง อติเปรมานนท์)ศิลปวิทยา6 มกราคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1917)[93]
รองอำมาตย์โท หลวงเจนจีนอักษร (สุดใจ)
หมายเหตุ: สกุลตัณฑากาศ
ศิลปวิทยา6 มกราคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1917)[93]
หม่อมเจ้าธานีนิวัต ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น 4 กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา
หมายเหตุ: ราชสกุลโสณกุล
ศิลปวิทยา19 มีนาคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1917)[94]
มหาเสวกตรี พระยานนทิเสนสุเรนทรภักดี (แม๊ก เศียนเสวี)ศิลปวิทยา19 มีนาคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1917)[94]
จ่า พระสุนทรลิขิต (ต่อม บุนนาค)ศิลปวิทยา19 มีนาคม พ.ศ. 2459
(ค.ศ. 1917)[94]
หม่อมเจ้าเขจรจรัสฤทธิ์ ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์
หมายเหตุ: ราชสกุลกฤดากร
ศิลปวิทยา25 มิถุนายน พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1917)[95]
รองอำมาตย์เอก หลวงศรีบัญชา (ทวน ธรรมชีวะ)ศิลปวิทยา25 มิถุนายน พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1917)[95]
หลวงสฤษดิการบรรจง (สมาน ปันยารชุน)ศิลปวิทยา25 กรกฎาคม พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1917)[96]
หลวงประกาศกลศิลป์ (ผิน บุรณยุกติ)ศิลปวิทยา25 กรกฎาคม พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1917)[96]
นายพันโท หลวงยุทธการบัญชา (เจือ อุดมศิลป์)ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1917)[97]
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นสิงหวิกรมเกรียงไกร(ได้รับพระราชทานเหรียญมาก่อนแล้ว)ราชการแผ่นดิน31 ธันวาคม พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1917)[98]
จ่า พระประชานกลกิจ (ชุ่ม ยันตรโกวิท)ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1917)[98]
หุ้มแพร หลวงอภิบาลบุริมศักดิ์ (เพียร ไตติลานนท์)ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1917)[98]
จางวางเอก พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ ณ กรุงเทพ)ศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1918)[99]
นายร้อยเอก หลวงจบกระบวนยุทธ (ชิต ยุวนะเตมีย์)ราชการแผ่นดิน1 มกราคม พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1918)[99]
นาย เอ. มากันกระทรวงพระคลังมหาสมบัติศิลปวิทยา21 มกราคม พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1918)[99]
นายเรือตรี เนียม วัชรเสถียรศิลปวิทยา13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460
(ค.ศ. 1918)[100]
เสวกเอก อาร์. ปัวซ์แพทย์ประจำพระองค์ศิลปวิทยา9 สิงหาคม พ.ศ. 2461
(ค.ศ. 1918)[101]
หัวหมื่น พระบรมบาทบำรุง (พิณ ศริวรรธนะ)ศิลปวิทยา26 ธันวาคม พ.ศ. 2461
(ค.ศ. 1918)[102]
นายพันตรี ดำริห์ อมาตยกุลศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2461
(ค.ศ. 1918)[103]
นายร้อยเอก หลวงทรงวิชัย (เจริญ จันฉาย)ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2461
(ค.ศ. 1918)[103]
หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์
หมายเหตุ: ราชสกุลกฤดากร
ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2461
(ค.ศ. 1918)[104]
หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น 4 กรมพระสมมตอมรพันธุ์
หมายเหตุ: ราชสกุลสวัสดิกุล
ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2461
(ค.ศ. 1918)[104]
จ่า พระประดิษฐไพเราะ (เอวัน วารศิริ)ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2461
(ค.ศ. 1918)[104]
เสวกตรี พระมานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา)ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2461
(ค.ศ. 1918)[104]
อำมาตย์ตรี หลวงอรรถกัลยาณวากย์ (วัน จามรมาน)ศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2461
(ค.ศ. 1919)[105]
รองหุ้มแพร ขุนประเสริฐหัตถกิจ (สาย ลิมปิรังษี)ศิลปวิทยา2 มกราคม พ.ศ. 2461
(ค.ศ. 1919)[106]
มหาเสวกตรี พระยาพจนปรีชา (หม่อมราชวงศ์สำเริง อิศรศักดิ์ ณ กรุงเทพ)ศิลปวิทยา1 เมษายน พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[107]
นายร้อยเอก หลวงกำจรจตุรงค์ (อาจ อินทรโยธิน)ศิลปวิทยา19 พฤษภาคม พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[108]
มหาอำมาตย์เอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากรอรรคราชทูตสยาม ณ กรุงปารีสราชการแผ่นดิน21 กันยายน พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[109]
นายพันเอก พระเฉลิมอากาศเจ้ากรมอากาศยานทหารบกราชการแผ่นดิน21 กันยายน พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[109]
นายพันโท หม่อมเจ้าอมรทัตผู้ช่วยทูตในราชการทหารบกในยุโหรปราชการแผ่นดิน21 กันยายน พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[109]
นายร้อยเอก เหม ยศธรนักบินประจำกองบินทหารบกซึ่งออกไปราชการสงครามนอกพระราชอาณาเขตศิลปวิทยา21 กันยายน พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[109]
นายร้อยโท ชิต รวดเร็วนักบินประจำกองบินทหารบกซึ่งออกไปราชการสงครามนอกพระราชอาณาเขตศิลปวิทยา21 กันยายน พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[109]
นายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค์ผู้บังคับกองทหารบกรถยนต์ซึ่งออกไปราชการสงครามนอกพระราชอาณาเขตราชการแผ่นดิน
ศิลปวิทยา
21 กันยายน พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[109]
นายร้อยเอก ศิริ อินทรผลศิลปวิทยา29 ธันวาคม พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[110]
จอมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล ณ กรุงเทพ)ราชการแผ่นดิน30 ธันวาคม พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[111]
มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร (หม่อมราชวงศ์ลพ สุทัศน์ ณ กรุงเทพ)ราชการแผ่นดิน30 ธันวาคม พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[111]
มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล ณ กรุงเทพ)ราชการแผ่นดิน30 ธันวาคม พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[111]
มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์ ณ กรุงเทพ)ราชการแผ่นดิน30 ธันวาคม พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[111]
อำมาตย์ตรี หลวงอินทปัญญา (วงศ์ ลัดพลี)ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1919)[111]
รองเสวกตรี หลวงนิมิตเลขา (ฉาย เทียมศิลปไชย)ศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1920)[111]
นาย เอ. โตนาเรลีกรมศิลปากรศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2462
(ค.ศ. 1920)[111]
มหาดเล็กวิเศษ หลวงกลการเจนจิต (เภา วสุวัต)ศิลปวิทยา15 มกราคม พ.ศ. 2463
(ค.ศ. 1921)[112]
หม่อมเจ้าสุขปรารภ ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร
หมายเหตุ: ราชสกุลกมลาศน์
ศิลปวิทยา16 มกราคม พ.ศ. 2463
(ค.ศ. 1921)[112]
อำมาตย์ตรี หลวงเสถียรฐาปนกิจ (ดวง บุนนาค)ศิลปวิทยา16 มกราคม พ.ศ. 2463
(ค.ศ. 1921)[112]
รองอำมาตย์เอก โยน ใยประยูรศิลปวิทยา16 มกราคม พ.ศ. 2463
(ค.ศ. 1921)[112]
รองอำมาตย์เอก วงจันทร์ วิมุกตานนท์ศิลปวิทยา21 มีนาคม พ.ศ. 2463
(ค.ศ. 1921)[113]
จอมพล สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมหลวงนครสวรรค์วรพินิตเสนาธิการทหารบก(ได้รับพระราชทานเหรียญมาก่อนแล้ว)ราชการแผ่นดิน4 ธันวาคม พ.ศ. 2464
(ค.ศ. 1921)[114]
นายพันตรี หลวงณรงค์สงคราม (เทพ พันธุมเสน)ศิลปวิทยา4 ธันวาคม พ.ศ. 2464
(ค.ศ. 1921)[115]
รองอำมาตย์เอก ชม อุบลรามโกมุทศิลปวิทยา4 ธันวาคม พ.ศ. 2464
(ค.ศ. 1921)[115]
ศาสตราจารย์ ยอชส์ เซเดส์กระทรวงศึกษาธิการศิลปวิทยา30 ธันวาคม พ.ศ. 2464
(ค.ศ. 1921)[116]
หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ์
หมายเหตุ: ราชสกุลวรวรรณ
ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2464
(ค.ศ. 1921)[116]
จ่า พระอนุกรมจิตรายนต (พุ่ม สุจริตระกะ)ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2464
(ค.ศ. 1921)[116]
มหาดเล็กสำรอง ขุนเทพลักษณเลขา (สระ หุตะพร)ศิลปวิทยา4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464
(ค.ศ. 1922)[117]
หม่อมเจ้านิลประภัศร ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น 4 กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ
หมายเหตุ: ราชสกุลเกษมศรี
กระทรวงกระลาโหมศิลปวิทยา17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464
(ค.ศ. 1922)[118]
นายเซซิล โทมัสศิลปวิทยาเนื่องในการที่แกะพระรูป ณ กรุงลอนดอน24 พฤษภาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1922)[119]
อำมาตย์โท หลวงพรหมบัญชา (พร้อม สุวรรณเสถียร)ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1922)[120]
รองอำมาตย์เอก หลวงโศภณพิทยาภรณ์ (หม่อมหลวงอุไร อิศรเสนา ณ กรุงเทพ)ศิลปวิทยา31 ธันวาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1922)[120]
หุ้มแพร หลวงยงเยี่ยงครู (จิ๋ว รามนัฏ)ศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[121]
รองหุ้มแพร ขุนทรงนัจวิธี (หรุ่น อรุณะนัฏ)ศิลปวิทยา1 มกราคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[121]
รองเสวกโท หลวงสุวรรณกิจชำนาญ (เวศ ศิลปีกุล)ศิลปวิทยา2 มกราคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[121]
ว่าที่นายนาวาโท หลวงชำนิกลการ (ฉา โพธิทัพ)ศิลปวิทยา4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[122]
นายนาวาเอก พระปรีชาชลจร (วัน จารุภา)ศิลปวิทยา13 มีนาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[123]
นายนาวาเอก พระฤทธิคำรณ (เทียบ นายเรือ)ศิลปวิทยา13 มีนาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[123]
นายนาวาโท หลวงชลัมพิสัยเสนี (แฉล้ม สถีรศิลปิน)ศิลปวิทยา13 มีนาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[123]
นายนาวาโท หลวงแม่นศรจักร์ (แม้น ปรีดิขนิษฐ์)ศิลปวิทยา13 มีนาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[123]
นายนาวาตรี หลวงสิทธิเดชสมุทรขันธ์ (สาย นพเสถียร)ศิลปวิทยา13 มีนาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[123]
นายนาวาตรี หลวงจักรานุกรกิจ (วงศ์ สุจริตกุล)ศิลปวิทยา13 มีนาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[123]
นายนาวาตรี หลวงกลพิทย์ประพิณ (ผาด ผาตินาวิน)ศิลปวิทยา13 มีนาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[123]
นายนาวาตรี หลวงสาครยุทธวิชัย (สาคร สิทธิศิริ)ศิลปวิทยา13 มีนาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[123]
นายนาวาตรี หลวงเจียรเจนสมุทร์ (เจียร บุตรานนท์)ศิลปวิทยา13 มีนาคม พ.ศ. 2465
(ค.ศ. 1923)[123]
อำมาตย์ตรี หลวงมนูภาณวิมลศาสตร์ (ชม จามรมาน)กระทรวงยุติธรรมศิลปวิทยา30 เมษายน พ.ศ. 2466
(ค.ศ. 1923)[124]
นายประสพ ตีระนันทน์ บุตร์หลวงวิจิตรเจียรไน (ทองสุก ตีระนันทน์)ศิลปวิทยา15 มกราคม พ.ศ. 2466
(ค.ศ. 1924)[125]
นายเรือเอก สวัสดิ์ นีละนิธีกระทรวงทหารเรือไม่ระบุ1 กันยายน พ.ศ. 2467
(ค.ศ. 1924)[126]
อำมาตย์เอก พระยาอนุสาสน์พณิชยการ (แฉล้ม คุปตารักษ์)ศิลปวิทยา30 ธันวาคม พ.ศ. 2467
(ค.ศ. 1924)[127]
อำมาตย์ตรี หลวงสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์)ศิลปวิทยา30 ธันวาคม พ.ศ. 2467
(ค.ศ. 1924)[127]

รัชกาลที่ 7

พระนาม/นามผู้ได้รับพระราชทานสังกัด/ตำแหน่งในทางราชการชนิดเหรียญชนิดเข็มเหตุแห่งการพระราชทานวันทีได้รับพระราชทาน
อำมาตย์เอก พระประสาทธาตุการย์ (กิมบี๊ ประนิช)กระทรวงพาณิชย์และคมนาคมศิลปวิทยา8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469
(ค.ศ. 1926)[128]
รองอำมาตย์เอก หลวงสุทธิอรรถนฤมนตร์ (สุธ เลขยานนท์)กระทรวงยุติธรรมศิลปวิทยา8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469
(ค.ศ. 1926)[128]
พระเจนดุริยางค์ (ปีเตอร์ ไฟท์ วาทยะกร)ศิลปวิทยา26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469
(ค.ศ. 1927)[129]
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวศิลปวิทยา
ราชการแผ่นดิน
6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[130]
นายพลโท หม่อมเจ้าอลงกฎ
หมายเหตุ: ราชสกุลศุขสวัสดิ
ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพลตรี พระยารามรณรงค์ (หม่อมหลวงชวย ฉัตรกุล ณ อยุธยา)ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันเอก พระโลหะอาวุธ (จู วัชรเสถียร)ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันโท หม่อมเจ้าตรีทิเพศพงศ์
หมายเหตุ: ราชสกุลเทวกุล
ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันโท พระศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันโท หลวงเวชยันต์รังสฤต (มุนี มหาสันทนะ)ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันตรี หม่อมเจ้านักขัตรมงคล
หมายเหตุ: ราชสกุลกิติยากร
ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันตรี หม่อมสนิทวงศ์เสนี (หม่อมราชวงศ์ตัน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันตรี หลวงวิภัติภูมิประเทศ (ฮะ หุตานุกรม)ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันตรี หลวงพสุธาวิภาค (สด เจนภูมิศาสตร์)ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันตรี หลวงบริภัณฑ์ยุทธกิจ (เภา เพียรเลิศ)ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันตรี หลวงพิศาลศัลยกรณ์ (หม่อมหลวงอังกาบ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันตรี หลวงอาทรธุราวุธ (หม่อมหลวงอภิรุม ชุมสาย ณ อยุธยา)ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
นายพันตรี หลวงเนรมิตไพชยนต์ (เซี้ยง ศุษิลวรณ์)ศิลปวิทยา6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1927)[131]
อำมาตย์เอก พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)ศิลปวิทยา8 มีนาคม พ.ศ. 2470
(ค.ศ. 1928)[132]
รองเสวกเอก หลวงประดิษฐไพเราะ (สอน ศิลปบรรเลง)ศิลปวิทยา5 พฤษภาคม พ.ศ. 2472
(ค.ศ. 1929)[133]
นายพันโท หลวงอำนวยสงคราม (ถม เกษะโกมล)กล้าหาญเสียชีวิตในขณะปฏิบัติราชการตามหน้าที่ จากเหตุการณ์กบฎบวรเดช27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายร้อยเอก ขุนศุกรนาคเสนีย์ (เจือ ศุกรนาค)กล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายร้อยโท น่วม ทองจรรยากล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายดาบ ละมัย แก้วนิมิตกล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายดาบ สมบุญ บัวชมกล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
จ่านายสิบ หล่อ วงพรามกล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
จ่านายสิบ แฉล้ม ศักดิ์ศิริกล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายสิบเอก ชั้ว เผือกทุ่งใหญ่กล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายสิบเอก ทองอิน เผือกผาสุกกล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายสิบเอก เช้า สุขสวยกล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายสิบเอก พัน ยังสว่างกล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายสิบเอก จัน ศุขเนตรกล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายสิบเอก บุญช่วย สุมาลย์มาศกล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายสิบเอก ดา ทูคำมีกล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายสิบเอก หลิม เงินเจริญกล้าหาญ27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[134]
นายร้อยตำรวจเอก ขุนประดิษฐสกลการ (ไปล่ จันทประดิษฐ)กล้าหาญเสียชีวิตในขณะปฏิบัติราชการตามหน้าที่ ระหว่างไปทำการสืบราชการที่จังหวัดนครราชสีมา29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[135]
นายร้อยตำรวจตรี ทอง แก่นอบเชยกล้าหาญ29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1933)[135]
นายร้อยโท ขุนอันเวสวีรยุทธ (อั้น ขำเดช)กระทรวงกลาโหมศิลปวิทยา15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476
(ค.ศ. 1934)[136]
นายพันตรี หลวงกาจสงคราม (เทียน เก่งระดมยิง)กล้าหาญ28 เมษายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[137]
นายร้อยโท ขุนพจน์ศรศักดิ์ (พจน์ ชุณหะวัณ)กล้าหาญ28 เมษายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[137]
นายร้อยตรี กระแส พงศ์สุพัฒน์กล้าหาญ28 เมษายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[137]
นายร้อยตรี ตุ๊ จารุเสถียรกล้าหาญ28 เมษายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[137]
นายสิบเอก สุก สังไพรวันกล้าหาญ28 เมษายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[137]
นายสิบโท หนุน เอี่ยมบริสุทธิ์กล้าหาญ28 เมษายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[137]
นายสิบโท ด่วน อินวงศ์กล้าหาญ28 เมษายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[137]
นายสิบตรี มาไล อุปภูติกล้าหาญ28 เมษายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[137]
นายสิบตรี สิงห์โต สังกาศกล้าหาญ28 เมษายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[137]
นายสิบตรี ไส ชูประทุมกล้าหาญ28 เมษายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[137]
นายสิบตำรวจโท นุช อังโสภากล้าหาญ18 กรกฎาคม พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[138]
นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)นายกรัฐมนตรีราชการแผ่นดิน8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[139]
นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขิตตะสังคะ)รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมราชการแผ่นดิน8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1934)[139]
นายพันโท หลวงอดุลเดชจรัส (บัตร พึ่งพระคุณ)รองอธิบดีกรมตำรวจราชการแผ่นดิน23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477
(ค.ศ. 1935)[140]

รัชกาลที่ 8

พระนาม/นามผู้ได้รับพระราชทานสังกัด/ตำแหน่งในทางราชการชนิดเหรียญชนิดเข็มเหตุแห่งการพระราชทานวันทีได้รับพระราชทาน
นายพันตรี หลวงละออภูมิลักษณ์ (ละออ บุนนาค)กระทรวงกลาโหมเหรียญดุษฎีมาลาศิลปวิทยา29 มิถุนายน พ.ศ. 2478
(ค.ศ. 1935)[141]
นายพันโท พระอร่ามรณชิต (อ๊อด จุลานนท์)กระทรวงเศรษฐการเหรียญดุษฎีมาลาศิลปวิทยา6 กันยายน พ.ศ. 2478
(ค.ศ. 1935)[142]
นายพันเอก พระเริงรุกปัจจามิตร (ทอง รักสงบ)เหรียญดุษฎีมาลาราชการแผ่นดิน(พระราชทานเป็นเกียรติยศแก่ศพ)2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478
(ค.ศ. 1935)[143]
หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์)เหรียญดุษฎีมาลาราชการแผ่นดิน21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481
(ค.ศ. 1939)[144]
หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ(ได้รับพระราชทานเหรียญมาก่อนแล้ว)ราชการแผ่นดิน21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481
(ค.ศ. 1939)[145]
นายร้อยตำรวจโท ชื่น นิมิตตะกระทรวงมหาดไทยเหรียญดุษฎีมาลากล้าหาญ5 กันยายน พ.ศ. 2482
(ค.ศ. 1939)[146]
นายสนิท ตุงคะมณีกระทรวงเศรษฐการเหรียญดุษฎีมาลาศิลปวิทยา30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483
(ค.ศ. 1940)[147]
ว่าที่นายเรืออากาศเอก ศานิต นวลมณีเหรียญดุษฎีมาลากล้าหาญ16 ธันวาคม พ.ศ. 2483
(ค.ศ. 1940)[148]
ว่าที่นายเรืออากาศเอก จวน สุขเสริมเหรียญดุษฎีมาลากล้าหาญ16 ธันวาคม พ.ศ. 2483
(ค.ศ. 1940)[148]
ว่าที่นายเรืออากาศตรี เฉลิม ดำสัมฤทธิ์เหรียญดุษฎีมาลากล้าหาญ16 ธันวาคม พ.ศ. 2483
(ค.ศ. 1940)[148]

ใกล้เคียง

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ รายพระนามจักรพรรดิและพระมหากษัตริย์จีน รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) รายพระนามฟาโรห์ รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รายพระนามพระสันตะปาปา

แหล่งที่มา

WikiPedia: รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา http://www.si.mahidol.ac.th/th/division/alumni/adm... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0005415... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0012465... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0B/0014... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2427/00... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2427/03... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2429/04... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2429/04... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/02... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/02...